ราดำทำลายก้อนเชื้อเห็ด
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
การเพาะเห็ดในถุงพลาสติกย่อมมีโรคแมลงศัตรูเห็ดระบาดไม่มากก็น้อย รวมทั้งเชื้อราปนเปื้อน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากถุงเห็ดชำรุดมาก่อนปัญหาที่พบเสมอได้แก่
1. เชื้อราปนเปื้อนที่พบได้แก่ ราเขียว Trichoderma sp. ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบรวดเร็ว ทำให้เชื้อเห็ดชะงักการเจริญเติบโต ราดำ Aspergillus niger เกิดในถุงที่มีอาหารเสริมสูง ราสีส้ม Neurospora และราเมือกสีเหลือง
Physarum polycepharum พบตามถุงเห็ดที่วัสดุเพาะเน่าและภายในโรงเห็ดมีความชื้นสูง โรงเพาะเห็ดไม่มีอากาศถ่ายเทพอ ถ้ามีราปนเปื้อนมากควรงดใส่น้ำตาลและแป้ง
2. หนอนแมลงหวี่เซียริดหรือแมลงหวี่เห็ดปีกดำ พวกนี้มีลำตัวสีขาวใสหรือสีเขียวอ่อน หัวมีสีดำยาวประมาณ 5 – 7 ซ.ม. เคลื่อนไหวเร็วและกินจุมาก ตัวอ่อนจะกัดกินเส้นใยเห็ด
3. ศัตรูอื่นๆ มีระบาดบ้างแต่ละท้องถิ่น เช่นเห็ดหมื่นปีหรือเห็ดหลินจือมีเพลี้ยไฟชนิดหนึ่งระบาด ทำให้ดอกเหี่ยวและสีคล้ำและมีด้วงปีกแข็งชนิดหนึ่งเจาะดอกเห็ด
ศัตรูเห็ดนางรม - นางฟ้า
เห็ดนางรมและเห็ดนางฟ้า มีคุณสมบัติทางกลิ่นที่ดึงดูดโรคและแมลงศัตรูเห็ดได้เป็นอย่างดี ดังนั้นจึงมีศัตรูเห็ดรบกวนหลายชนิด เช่น
1. หนูและแมลงสาบ เริ่มเข้าทำลายตั้งแต่ระยะเชื้อและดอกเห็ดการกำจัดควรใช้ยาเบื่อหรือกาวดัก
2. ไร ตัวไรจะดูดกินน้ำเลี้ยงระยะก้อนเชื้อและดอกเห็ด ทำให้ผลผลิตลดลง พบว่าการระบาดของไรมีมากเมื่อความ ชื้นต่ำ จึงควรให้ความชื้นอย่างสม่ำเสมอ การไม่ปล่อยให้เกิดการหมักหมมของก้อนเชื้อบริเวณโรงเพาะ ก็เป็นการลดจำนวนไรได้ทางหนึ่ง การปราบไรควรเน้นเรื่องความสะอาดและการป้องกันมากกว่าการใช้สารเคมีเพราะจะเป็นอันตรายมาถึงคนกินเห็ดได้
3. แมลงหวี่ เกิดกับดอกเห็ดที่อายุมากแมลงหวี่จะเข้ามาตอมและวางไข่เป็นหนอนแล้วแพร่พันธุ์ ควรนำก้อนเชื้อชนิดนี้ออกจากโรงเพาะ
4. โรคจุดเหลือง พบในเห็ดที่มีอายุมากที่ตกค้างในการเก็บหรือเป็นเพราะน้ำที่ใช้รดสกปรก โดยเฉพาะเมื่ออากาศร้อนจัด
5. ราเมือก มีลักษณะเป็นสายสีเหลือง มีกลิ่นคาวจัด สามารถระบาดโดยสปอร์ได้ ควรป้องกันโดยการเอาก้อนเชื้อที่หมดอายุและเศษวัสดุในเรือนเพาะออกอย่าให้เกิดการหมักหมม
ปัญหาที่พบเสมอในการเพาะเห็ดนางรม - เห็ดนางฟ้า
ในการเพาะเห็ดนางรม – เห็ดนางฟ้า ก็มีปัญหาเช่นเดียวกับการเพาะเห็ดชนิดอื่นๆ ซึ่งพอจะจำแนกได้ดังนี้
1. เส้นใยไม่เจริญลงในถุงขี้เลื่อย หลังจากที่ได้ใส่เชื้อเห็ดลงไปสาเหตุเกิดจาก
- หัวเชื้อเห็ดไม่มีคุณภาพหรือหมดอายุ
- ปุ๋ยหมักมีสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อเห็ด ตลอดจนมีความเป็นกรดหรือด่างมากเกินไป
- ปุ๋ยหมักแฉะเกินไปและเกิดจุลินทรีย์อื่นๆ ขึ้นปะปน
2. เส้นใยเดินบางมาก ในบางครั้งหลังจากบ่มเชื้อแล้วเส้นใยเจริญทั่วก้อนแต่เดินบางมาก ทำให้เกิดดอกเห็ดได้น้อย อาจเกิดจาก
- การขาดอาหารเสริมอาหารน้อยเกินไป
- การนึ่งฆ่าเชื้อไม่หมดยังมีเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ เจริญอยู่
- ใช้วัสดุเพาะที่ไม่เหมาะกับเห็ดชนิดนี้
3. เส้นใยเดินเพียงครึ่งถุง แล้วไม่เดินต่อไปอีก
- ปุ๋ยหมักก้นถุงชื้นหรือเปียกแฉะเกินไป
4. ออกดอกช้าเกิดจาก
- นำก้อนเชื้อไปเปิดดอกในขณะที่เส้นใยยังไม่รัดตัว
- การถ่ายเทอากาศไม่ดี
- เชื้อเห็ดอ่อนเกินไป จากการต่อเชื้อมาแล้วหลายครั้ง
- ความชื้นไม่เพียงพอ
5. ดอกเห็ดเล็กไม่โตและให้ผลผลิตต่ำ
- เชื้ออ่อนแอ ต้องคัดหรือเลี้ยงเนื้อเยื่อใหม่
- อาหารภายในถุงไม่เพียงพอเพราะดอกเห็ดเกิดเป็นดอกเล็กๆ ขึ้นจำนวนมาก
6. เกิดเป็นดอกช้าและไม่เจริญเติบโต มีอาการเหี่ยวเฉาตาย
- เชื้อจุลินทรีย์เข้าทำลายขณะเปิดถุงเนื่องจากโรงเรือนสกปรก
- มีน้ำขังในถุงมากเกินไป
การแก้ปัญหาการเพาะเห็ดในโรงเรือน
1. ควรมีการพักโรงบ่มและโรงเพาะเห็ดประมาณ 1 เดือนหมุนเวียนกัน ล้างโรงเห็ดให้สะอาด
2. ฉีดพ่นยาป้องกันศัตรูเห็ดเป็นครั้งคราวเมื่อพักโรงเห็ด
3. ใช้ปูนขาวโรยพื้นเป็นครั้งคราว
4. เก็บถุงเห็ดที่หมดสภาพแล้วนำไปทิ้งให้ไกลจากสถานที่ ที่เพาะเห็ด วัสดุเพาะเห็ดที่หมดสภาพแล้วของเห็ดบางชนิดนำไปเป็นปุ๋ยต้นไม้ได้เลย เช่นวัสดุเพาะเห็ดนางรม เป็นต้น แต่วัสดุที่เพาะเห็ดหลินจือมีความเสี่ยงต่อการไปทำลายต้นไม้ยืนต้น จึงไม่ควรนำไปใช้เป็นปุ๋ย ควรนำไปใช้อย่างอื่นหรือเผาทำลาย
การเพาะเห็ดในถุงปัญหาที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากสิ่งต่างๆ ดังนี้
1. ถุงพลาสติกมักมีตำหนิทำให้มีเชื้อปนเปื้อนสูง
2. การนึ่งยังไม่ได้มาตรฐาน ทำให้มีเชื้อปนเปื้อนมาก
3. โรงพักก้อนเชื้อไม่สะอาด มีไรไข่ปลาระบาดทั่วไปในก้อนถุง
4. ก้อนเชื้อรดน้ำมาก น้ำเข้าไปขังแฉะทำให้ก้อนเชื้อภายในถุงเน่า หนอนแมลงวันวางไข่ ตัวอ่อนกัดกินทำลายเส้ยใยและดอกเห็ด
5. โรงเพาะเห็ดมีการถ่ายเทอากาศไม่เพียงพอ ความชื้นสูงมีราเมือกระบาด
6. ไม่มีการพักโรงเรือนเพาะเห็ด ทำให้มีศัตรูเห็ดสะสม
การเพาะเห็ดในถุงพลาสติกย่อมมีโรคแมลงศัตรูเห็ดระบาดไม่มากก็น้อย รวมทั้งเชื้อราปนเปื้อน ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากถุงเห็ดชำรุดมาก่อนปัญหาที่พบเสมอได้แก่
1. เชื้อราปนเปื้อนที่พบได้แก่ ราเขียว Trichoderma sp. ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบรวดเร็ว ทำให้เชื้อเห็ดชะงักการเจริญเติบโต ราดำ Aspergillus niger เกิดในถุงที่มีอาหารเสริมสูง ราสีส้ม Neurospora และราเมือกสีเหลือง
Physarum polycepharum พบตามถุงเห็ดที่วัสดุเพาะเน่าและภายในโรงเห็ดมีความชื้นสูง โรงเพาะเห็ดไม่มีอากาศถ่ายเทพอ ถ้ามีราปนเปื้อนมากควรงดใส่น้ำตาลและแป้ง
2. หนอนแมลงหวี่เซียริดหรือแมลงหวี่เห็ดปีกดำ พวกนี้มีลำตัวสีขาวใสหรือสีเขียวอ่อน หัวมีสีดำยาวประมาณ 5 – 7 ซ.ม. เคลื่อนไหวเร็วและกินจุมาก ตัวอ่อนจะกัดกินเส้นใยเห็ด
3. ศัตรูอื่นๆ มีระบาดบ้างแต่ละท้องถิ่น เช่นเห็ดหมื่นปีหรือเห็ดหลินจือมีเพลี้ยไฟชนิดหนึ่งระบาด ทำให้ดอกเหี่ยวและสีคล้ำและมีด้วงปีกแข็งชนิดหนึ่งเจาะดอกเห็ด
ศัตรูเห็ดนางรม - นางฟ้า
เห็ดนางรมและเห็ดนางฟ้า มีคุณสมบัติทางกลิ่นที่ดึงดูดโรคและแมลงศัตรูเห็ดได้เป็นอย่างดี ดังนั้นจึงมีศัตรูเห็ดรบกวนหลายชนิด เช่น
1. หนูและแมลงสาบ เริ่มเข้าทำลายตั้งแต่ระยะเชื้อและดอกเห็ดการกำจัดควรใช้ยาเบื่อหรือกาวดัก
2. ไร ตัวไรจะดูดกินน้ำเลี้ยงระยะก้อนเชื้อและดอกเห็ด ทำให้ผลผลิตลดลง พบว่าการระบาดของไรมีมากเมื่อความ ชื้นต่ำ จึงควรให้ความชื้นอย่างสม่ำเสมอ การไม่ปล่อยให้เกิดการหมักหมมของก้อนเชื้อบริเวณโรงเพาะ ก็เป็นการลดจำนวนไรได้ทางหนึ่ง การปราบไรควรเน้นเรื่องความสะอาดและการป้องกันมากกว่าการใช้สารเคมีเพราะจะเป็นอันตรายมาถึงคนกินเห็ดได้
3. แมลงหวี่ เกิดกับดอกเห็ดที่อายุมากแมลงหวี่จะเข้ามาตอมและวางไข่เป็นหนอนแล้วแพร่พันธุ์ ควรนำก้อนเชื้อชนิดนี้ออกจากโรงเพาะ
4. โรคจุดเหลือง พบในเห็ดที่มีอายุมากที่ตกค้างในการเก็บหรือเป็นเพราะน้ำที่ใช้รดสกปรก โดยเฉพาะเมื่ออากาศร้อนจัด
5. ราเมือก มีลักษณะเป็นสายสีเหลือง มีกลิ่นคาวจัด สามารถระบาดโดยสปอร์ได้ ควรป้องกันโดยการเอาก้อนเชื้อที่หมดอายุและเศษวัสดุในเรือนเพาะออกอย่าให้เกิดการหมักหมม
ปัญหาที่พบเสมอในการเพาะเห็ดนางรม - เห็ดนางฟ้า
ในการเพาะเห็ดนางรม – เห็ดนางฟ้า ก็มีปัญหาเช่นเดียวกับการเพาะเห็ดชนิดอื่นๆ ซึ่งพอจะจำแนกได้ดังนี้
1. เส้นใยไม่เจริญลงในถุงขี้เลื่อย หลังจากที่ได้ใส่เชื้อเห็ดลงไปสาเหตุเกิดจาก
- หัวเชื้อเห็ดไม่มีคุณภาพหรือหมดอายุ
- ปุ๋ยหมักมีสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อเห็ด ตลอดจนมีความเป็นกรดหรือด่างมากเกินไป
- ปุ๋ยหมักแฉะเกินไปและเกิดจุลินทรีย์อื่นๆ ขึ้นปะปน
2. เส้นใยเดินบางมาก ในบางครั้งหลังจากบ่มเชื้อแล้วเส้นใยเจริญทั่วก้อนแต่เดินบางมาก ทำให้เกิดดอกเห็ดได้น้อย อาจเกิดจาก
- การขาดอาหารเสริมอาหารน้อยเกินไป
- การนึ่งฆ่าเชื้อไม่หมดยังมีเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ เจริญอยู่
- ใช้วัสดุเพาะที่ไม่เหมาะกับเห็ดชนิดนี้
3. เส้นใยเดินเพียงครึ่งถุง แล้วไม่เดินต่อไปอีก
- ปุ๋ยหมักก้นถุงชื้นหรือเปียกแฉะเกินไป
4. ออกดอกช้าเกิดจาก
- นำก้อนเชื้อไปเปิดดอกในขณะที่เส้นใยยังไม่รัดตัว
- การถ่ายเทอากาศไม่ดี
- เชื้อเห็ดอ่อนเกินไป จากการต่อเชื้อมาแล้วหลายครั้ง
- ความชื้นไม่เพียงพอ
5. ดอกเห็ดเล็กไม่โตและให้ผลผลิตต่ำ
- เชื้ออ่อนแอ ต้องคัดหรือเลี้ยงเนื้อเยื่อใหม่
- อาหารภายในถุงไม่เพียงพอเพราะดอกเห็ดเกิดเป็นดอกเล็กๆ ขึ้นจำนวนมาก
6. เกิดเป็นดอกช้าและไม่เจริญเติบโต มีอาการเหี่ยวเฉาตาย
- เชื้อจุลินทรีย์เข้าทำลายขณะเปิดถุงเนื่องจากโรงเรือนสกปรก
- มีน้ำขังในถุงมากเกินไป
การแก้ปัญหาการเพาะเห็ดในโรงเรือน
1. ควรมีการพักโรงบ่มและโรงเพาะเห็ดประมาณ 1 เดือนหมุนเวียนกัน ล้างโรงเห็ดให้สะอาด
2. ฉีดพ่นยาป้องกันศัตรูเห็ดเป็นครั้งคราวเมื่อพักโรงเห็ด
3. ใช้ปูนขาวโรยพื้นเป็นครั้งคราว
4. เก็บถุงเห็ดที่หมดสภาพแล้วนำไปทิ้งให้ไกลจากสถานที่ ที่เพาะเห็ด วัสดุเพาะเห็ดที่หมดสภาพแล้วของเห็ดบางชนิดนำไปเป็นปุ๋ยต้นไม้ได้เลย เช่นวัสดุเพาะเห็ดนางรม เป็นต้น แต่วัสดุที่เพาะเห็ดหลินจือมีความเสี่ยงต่อการไปทำลายต้นไม้ยืนต้น จึงไม่ควรนำไปใช้เป็นปุ๋ย ควรนำไปใช้อย่างอื่นหรือเผาทำลาย
การเพาะเห็ดในถุงปัญหาที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากสิ่งต่างๆ ดังนี้
1. ถุงพลาสติกมักมีตำหนิทำให้มีเชื้อปนเปื้อนสูง
2. การนึ่งยังไม่ได้มาตรฐาน ทำให้มีเชื้อปนเปื้อนมาก
3. โรงพักก้อนเชื้อไม่สะอาด มีไรไข่ปลาระบาดทั่วไปในก้อนถุง
4. ก้อนเชื้อรดน้ำมาก น้ำเข้าไปขังแฉะทำให้ก้อนเชื้อภายในถุงเน่า หนอนแมลงวันวางไข่ ตัวอ่อนกัดกินทำลายเส้ยใยและดอกเห็ด
5. โรงเพาะเห็ดมีการถ่ายเทอากาศไม่เพียงพอ ความชื้นสูงมีราเมือกระบาด
6. ไม่มีการพักโรงเรือนเพาะเห็ด ทำให้มีศัตรูเห็ดสะสม
38 ความคิดเห็น:
อ่านเรื่องความหมายของการแยกเชื้อเห็ด
เด็กหญิงอนงค์นาถ มาลา เลขที่ 30 ชั้น ม.2/2
อ่านเรื่องความหมายของการแยกเชื้อเห็ด
เด็หญิงภัทราพร เพียรขุนทด เลขที่ 15 ชั้น ม.2/2
อ่านเรื่องความหมายของการแยกเชื้อเห็ด
เด็กหญิงอิศญา พงษ์อุดม เลขที่ 31 ชั้น ม.2/2
อ่านเรื่อง เห็ดเกิดขึ้นได้อย่างไร ด.ญ.คัทลียา ช่างชำนิ เลขที่ 4 ม. 2/2
โรคแมลงศัตรูเห็ดที่เพราะในถุงพลาสติก
ด.ช.ฉัตรชัย ทองำรูญ
ม.2/2 เลขที่ 44
อ่านเรื่องเห็ดโคลน
เด็กชายธนพล ทองแม้น เลขมที่ 36 ชั้น ม.2/2
อ่านเรื่องเห็ดนางรม เห็ดนางฟ้า
เด็หญิงสุวิมล บุญมีเขว้า เลขที่ 29 ชั้น ม.2/2
เด็กชายธนพล ทองแม้น เลขที่ 36 ม.2/2
ด.ช.จิราธิวัฒ วงษ์สิม เลขที่ 34 ม.2/2
อ่านเรื่อง เห็ดโคน
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นายนราวิชญ์ คนที เลขที่16
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นายสุริยา ขวัญบุญจันทร์ เลขที่30
นาย ธวัชชัย พลเสนา เลขที่24
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถึงพลาสติก
นายจิรานุวัฒน์ พัดพาน เลขที่3
นายสุภกิณห์ สิงห์ลา เลขที่28
นายชาคริต พรมพล เลขที่7
นายวุฒิพงษ์ มีทรัพย์ ม.5/2
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถึงพลาสติก
นาย ณัฐพงษ์ มีชำนาญ เลขที่12
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถึงพลาสติก
นายวรภาส แก้วสนธิ์ เลขที่23
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นายกิตติพัฒน์ เพิ่มสนาม เลขที่1
โรคเเละมะเเมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก นาย ณัฐพงศ์ หาญเวช เลขที่11
นายจักริน ศิลา เลขที่2
โรคเเละมะเเมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นาย วทัญญู พึมขุนทด เลขที่22
โรคเเละเเมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นายเจษฎา เเหล่งสะท้านเลขที่4
โรคเเละเเมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นายสุเนธ แก่งสันเทียะ เลขที่27
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นายรัฐภูมิ พิมพา เลขที่ 21
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นายณภัทร เลิศประเสริฐ เลขที่10
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นาย ธวัชชัย เอื้อศรี เลขที่22
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
นายณัฐศาสน์ งิมขุนทด
1.ปัจจัยที่มีต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางรม-เห็ดนางฟ้า
2.โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
ด.ช.ภูริพัฒน์ ชัยมีแรง เลขที่7 ม.3/1
1.ปัจจัยที่มีต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางรม-เห็ดนางฟ้า
2.โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
ด.ญ.ปรีชญา เพียนอก เลขที่13 ม.3/1
1.ปัจจัยที่มีต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางรม-เห็ดนางฟ้า
2.โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
ด.ญ.ศิริพร สุดาชมเลขที่14 ม.3/1
ธรภัทร ธรรมนิยมม.3/1 เลขที่3กล่าวว่า...
1.ปัจจัยที่มีต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางรม-เห็ดนางฟ้า
2.โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
ด.ช.ธนภัทร ธรรมนิยม เลขที่3
ม.3/1 เลขที่10 กล่าวว่า...
1.ปัจจัยที่มีต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางรม-เห็ดนางฟ้า
2.โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
ด.ช.อโณทัย แย้มประโคน ม.3/1
กิตตินันท์ เป็งปก ม.3/1 เลขที่6 กล่าวว่า...
1.ปัจจัยที่มีต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางรม-เห็ดนางฟ้า
2.โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก เลขที่1 ม.3/1
โรคและแมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
ด.ช.ธนศักดิ์ เเสนสุข เลขที่4 ม.3/2
ด.ญ.นริศรา เเสนบ้าน ม.3/2 เลขที่23
โรคเเละเเมลงศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
เรื่อง โรคและศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก
ด.ช.ณัฐพล สะอาด ม.3/2 เลขที่2
เรื่อง โรคและศัตรูเห็ดที่เพาะในถุงพลาสติก ด.ช.วีรชา งอกชัยภููมิ ม.3/2 เลขที่10
แสดงความคิดเห็น